เคาะแล้ว! ภาครัฐแจกเงินเพิ่มหัวละ 4500 บาท ลงทะเบียนได้ทุกอาชีพ

เคาะแล้ว! แจกเงินเพิ่ม 4 โครงการจากภาครัฐ ได้ทุกอาชีพ เตรียมลงทะเบียน 30 มิ.ย. 2565

เมื่อวานนี้ นายธนกร วังบุญคงชนะ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่าที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบอนุมัติงบประมาณเพื่อแจกเงินจำนวน 5.4 หมื่นล้านบาทสำหรับ 4 โครงการที่รัฐจะแจกเงินเพิ่มเพื่อส่งเสริมมาตรการลดค่าครองชีพและเพิ่มกำลังซื้อของรัฐ แจกเงินภายใต้พระราชกำหนดฯ เพิ่มเติม พ.ศ.2565 โดยทั้ง 4 โครงการดังกล่าวมีดังนี้

แจกเงิน

1. โครงการเพิ่มกำลังซื้อ

คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณจำนวน 8,122.3764 ล้านบาท สำหรับผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐหรือบัตรคนจน ระยะที่ 3 เพื่อช่วยเหลือพี่น้องประชาชนกลุ่มดังกล่าวด้วยการเพิ่มกำลังซื้ออีกจำนวน 300 บาท/คน/โครงการ เป็นระยะเวลารวมทั้งสิ้น 2 เดือน (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2564) ทำให้จากของเดิมที่ได้ 200 บาท แต่ 2 เดือนดังกล่าวจะได้เพิ่มเป็น 500 บาทต่อเดือน ซึ่งครอบคลุมกลุ่มผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จำนวนไม่เกิน 13,537,294 คน

2. โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ

คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณจำนวน 1,383.8814 ล้านบาท สำหรับช่วยเหลือวงเงินค่าซื้อสินค้า จำนวน 300 บาท/คน/เดือน เป็นระยะเวลา 2 เดือน (เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2564) รวมเป็น 500 บาท/คน ในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม จำนวนไม่เกิน 2,306,469 คน

*สำหรับกลุ่มผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ หมายถึง ผู้ที่ไม่มีสมาร์ทโฟน ผู้ที่ไม่สามารถ เข้าถึงระบบแจกเงินอินเทอร์เน็ต ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้ป่วยติดเตียง รวมถึงที่ลงทะเบียนด้วยตนเองไม่สำเร็จเนื่องจากข้อมูลส่วนบุคคลไม่ถูกต้อง เป็นต้น แจกเงิน

ไทม์ไลน์การโอนเงินช่วยเหลือ โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษมีดังนี้

วันที่ 1 ต.ค.64 จำนวน 200 บาท (จ่ายแล้วเรียบร้อย)
วันที่ 1 พ.ย 64 จำนวน 200 บาท โอนเพิ่มอีก 300 บาท รวม 500 บาท
วันที่ 1 ธ.ค.64 จำนวน 200 บาท โอนเพิ่มอีก 300 บาท รวม 500 บาท

โครงการคนละครึ่ง
อนุมัติงบช่วยเหลือ 4 โครงการภาครัฐ

3. โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 แจกเงิน

คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณเพิ่มเติม 42,000 ล้านบาท สำหรับสนับสนุนสินค้าและบริการทั่วไป ค่าอาหาร เครื่องดื่ม รวมทั้งสามารถซื้ออาหาร และเครื่องดื่มจากร้านที่เข้าร่วมโครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 ผ่านผู้ให้บริการระบบ ขนส่งอาหาร (Food Delivery Platform) ร้อยละ 50 ไม่เกิน 150 บาท/คน/วัน เพิ่มให้อีกเป็นจำนวนเงิน 1,500 บาทต่อคน จากเดิมรัฐบาลอนุมัติให้คนละ 3,000 บาท รวมเป็นเงิน 4,500 บาท (พฤศจิกายน – ธันวาคม 2564) ทั้งหมดจะครอบคลุมประชาชนสัญชาติไทยที่มีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไปและเป็นผู้ไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐจำนวนไม่เกิน 28 ล้านคน ประกอบด้วยผู้ลงทะเบียนใหม่และผู้ที่เคยได้รับสิทธิแล้ว

4. โครงการยิ่งใช้ยิ่งได้ (แจกเงิน)

คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติงบประมาณเพิ่มเติม 3,000 ล้านบาท สำหรับประชาชนทั่วไปที่ไม่เข้าข่ายได้รับสิทธิทั้ง 3 โครงการก่อนหน้านี้คือ ไม่มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ (บัตรคนจน) ไม่ได้รับสิทธิตามโครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ หรือไม่ใช้สิทธิโครงการคนละครึ่งระยะที่ 3 จำนวนทั้งสิ้นไม่เกิน 1 ล้านสิทธิ เพิ่มวงเงินสนับสนุน e-Voucher จากเดิมไม่เกิน 7,000 บาท เป็น 10,000 บาทต่อคน ในเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2564 ดังนี้

ยอดจ่ายตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม – 31 ตุลาคม 2564 ใช้วิธีคำนวณแบบเดิม
ยอดจ่ายตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 30 พฤศจิกายน 2564
สำหรับผู้ได้รับสิทธิและมียอดใช้จ่ายที่จะนำมาคำนวณ e-Voucher ไม่เกิน 60,000 บาท ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 มีรายละเอียดการได้รับสิทธิดังนี้

สำหรับยอดใช้จ่ายจริงตั้งแต่ 1-40,000 บาทแรกได้รับ e-Voucher ร้อยละ 10 ของยอดใช้จ่ายจริง แจกเงิน แต่ไม่เกิน 4,000 บาท/คน
สำหรับยอดใช้จ่ายจริงตั้งแต่ 40,001– 80,000 บาท ได้รับ e-Voucher ร้อยละ 15 ของยอดใช้จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 6,000 บาท/คน แจกเงิน
สำหรับผู้ได้รับสิทธิที่มียอดใช้จ่ายที่จะนำมาคำนวณ e-Voucher เต็มจำนวน 60,000 บาท ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2564 ซึ่งมีสิทธิ ได้รับ e-Voucher จำนวน 7,000 บาท เรียบร้อยแล้ว จะมีสิทธิได้รับ e-Voucher เพิ่มเติมหากมีการใช้จ่ายเพิ่มเติมจำนวนไม่เกิน 20,000 บาทระหว่างวันที่ 1-30 พฤศจิกายน 2564 ะได้รับสิทธิ e-Voucher ร้อยละ 15 ของยอดใช้จ่ายเพิ่มเติม แต่ไม่เกิน 3,000 บาทต่อคน
สำหรับทั้ง 4 โครงการของรัฐ ทุกมาตรการเป็นไปเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและเป็นการช่วยเหลือประชาชน โดยการอนุมัติงบของครม. ทั้งนี้กรอบวงเงินกู้ตามพระราชกำหนดฯ หลักหักทั้ง 4 โครงการที่กล่าวไปจะมีงบประมาณคงเหลือทั้งสิ้นรวม 262,485.0671 ล้านบาท นายธนกร กล่าว

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รมว.การคลัง กล่าวว่า มาตรการคนละครึ่ง ระยะที่ 4 จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มี.ค.-30 เม.ย. 2565 พร้อมกันนี้กระทรวงการคลังจะต้องพิจารณาให้เงินเพิ่มเติมกับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ หรือ บัตรคนจน ประมาณ 14 ล้านคน และกลุ่มเปราะบางอีก 2 ล้านคนด้วย ส่วนจะใช้งบประมาณดำเนินการเท่าไหร่ ขอพิจารณาจากงบประมาณที่เหลืออยู่ก่อน

 

ที่ผ่านมาการเยียวยาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโควิด-19 จะทำเป็นแพครวมกันอยู่แล้ว

เล่นเกม

ทั้งการให้วงเงินตามมาตรการคนละครึ่ง การให้เงินเพิ่มกับผู้มีบัตรคนจน และกลุ่มเปราะบางมาตลอดทุกครั้ง ซึ่งครั้งนี้ก็จะพิจารณาไปพร้อมกันกับการดำเนินมาตรการคนละครึ่ง ระยะที่ 4 ด้วย เนื่องจากได้รับผลกระทบจากโควิด-19 รอบใหม่เหมือนกัน” นายอาคม กล่าว

สำหรับการลงทะเบียนผู้รับบัตรคนจนรอบใหม่ ขณะนี้ยังไม่ผ่านการพิจารณาของคณะรัฐมนตรี (ครม.) เนื่องจากรอความเห็นจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แต่เชื่อว่าจะไม่มีผลกระทบกับสิทธิ์ต่าง ๆ ที่ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐจะได้รับ โดยยังจะได้รับสิทธิ์ต่อไปเหมือนเดิม ไม่มีอะไรเปลี่ยนแปลงจนกว่าจะมีการลงทะเบียนรอบใหม่

อย่างไรก็ดี มาตรการลดภาระค่าครองชีพและฟื้นฟูเศรษฐกิจจากผลกระทบโควิด-19 ปี 2564 ที่ได้สิ้นสุดโครงการทั้ง 4 โครงการ เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 2564 ประกอบด้วย โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระยะที่ 3, โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ, โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 และโครงการยิ่งใช้ยิ่งได้ โดยมีผู้ใช้สิทธิสะสมทั้ง 4 โครงการรวม 41.5 ล้านราย ยอดใช้จ่ายสะสมทั้งหมด 254,281 ล้านบาท

 

1. โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ ระยะที่ 3 มีผู้ใช้สิทธิสะสมประมาณ 13.55 ล้านราย มียอดการใช้จ่ายสะสมรวม 24,010 ล้านบาท

2. โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ ผู้ใช้สิทธิสะสมประมาณ 1.51 ล้านราย มียอดการใช้จ่ายสะสมรวม 2,183 ล้านบาท

3. โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 มีผู้ใช้สิทธิสะสมจำนวน 26.35 ล้านราย จากผู้ได้รับสิทธิจำนวน 27.98 ล้านราย และมีจำนวนผู้ใช้สิทธิครบ 4,500 บาท 10.87 ล้านราย มียอดการใช้จ่ายสะสมรวม 223,921 ล้านบาท

4. โครงการยิ่งใช้ยิ่งได้ มีประชาชนผู้ใช้สิทธิสะสมจำนวน 91,952 ราย จากผู้ได้รับสิทธิจำนวนกว่า 4.9 แสนราย มียอดใช้จ่ายสะสมส่วนประชาชน 3,827 ล้านบาท

 

สำหรับมาตรการชุดใหม่ จะเป็นการให้ความช่วยเหลือเฉพาะกลุ่มมากขึ้น ไม่ใช่มาตรการแบบเหวี่ยงแห และปฏิเสธว่าจะมีการต่ออายุมาตรการคนละครึ่งเฟส 5 หรือไม่ เพราะมาตรการดังกล่าว เป็นการดำเนินการโดยใช้เงินกู้จาก พ.ร.ก.กู้เงินเพื่อเยียวยาผลกระทบจากโควิด-19 แต่สถานการณ์ตอนนี้เปลี่ยนไปแล้ว สถานการณ์โควิดคลี่คลายลงไปมากแล้ว มีการเปิดประเทศ เศรษฐกิจเริ่มฟื้นตัวขึ้น รายได้ของประชาชนเริ่มกลับคืนมา ขณะที่รัฐบาลมีข้อจำกัดด้านงบประมาณที่จะนำมาใช้

นายอาคม กล่าวว่า มาตรการชุดใหม่ จะเน้นความช่วยเหลือเฉพาะกลุ่ม 2 เรื่อง คือ ต้องได้รับผลกระทบจากโควิด-19 และจากราคาพลังงานที่เพิ่มสูงขึ้น กระทบกับกำลังซื้อ ไม่ใช่มาตรการแบบเหวี่ยงแห เป็นมาตรการเฉพาะกลุ่ม อย่างเช่นให้โจทย์มาว่ากลุ่มผู้ขับขี่จักรยานยนต์รับจ้างจะช่วยต่อได้หรือไม่เพื่อลดค่าใข้จ่าย ต้องเป็นผู้ที่ขึ้นทะเบียนอยู่ในระบบเท่านั้น

“การใช้มาตรการแบบเหวี่ยงแหในขณะที่สถานการณ์รุนแรงนั้น มีเหตุผลเพียงพอที่จะนำเงินกู้ 1.5 ล้านล้านบาทมาใช้เพื่อเยียวยาผลกระทบให้ประชาชน ด้วยการเพิ่มกำลังซื้อ ในช่วงโควิดทุกคนไม่ปฏิเสธ แต่เมื่อเศรษฐกิจเริ่มดีขึ้น กำลังซื้อเริ่มกลับเข้ามา ความจำเป็นตรงนี้ก็ต้องน้อยลงไป เมื่อเศรษฐกิจกลับมาทำงานได้ปกติ เราก็ควรจะถอนเรื่องพวกนี้ ทั่วโลกก็เป็นแบบนี้ ก็จะกลับมาดูเรื่องของรายได้”

นายอาคม กล่าวว่า ไม่จำเป็นต้องกู้เพิ่ม แม้ว่าเงินกู้จาก พ.ร.ก.เงินกู้ ที่เหลืออยู่ 4 หมื่นล้านบาท อาจไม่พอ เพราะรัฐบาลมีความจำเป็นต้องเร่งปรับนโยบายการคลังเข้าสู่ภาวะปกติ ต้องมาพิจารณาว่าหนี้จากการเยียวยาโควิด-19 เราจะมีปัญญาหารายได้หรือไม่ นี่คือโจทย์ใหญ่ ถ้าจะให้กู้เพิ่ม คนก็ต้องยอมเข้าระบบภาษีมากขึ้น เป็นความยั่งยืนทางการคลัง ที่ทุกประเทศต้องเร่งแก้ปัญหา กู้มาเท่าไหร่ ก็ต้องหารายได้มากไปด้วย ที่ผ่านมา คลังก็มีช่องทางรายได้ใหม่ เช่น ภาษีจากแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างชาติที่ให้บริการในประเทศ หรือการเชิญนักลงทุนต่างชาติมาลงทุนในไทย การสนับสนุนอุตสาหกรรมรถยนต์ไฟฟ้า ก็เป็นกำลังซื้อรุ่นใหม่ ถ้าผู้ประกอบการมีกำไร ก็เป็นรายได้เข้าประเทศ

สำหรับสถานการณ์เงินเฟ้อสูงเกิดขึ้นกับทุกประเทศ ซึ่งบางประเทศไม่ได้ให้ความช่วยเหลือประชาชน แต่ปล่อยให้เป็นไปตามกลไก เพราะเมื่อราคาสินค้าขึ้นไปแล้ว วันหนึ่งเมื่อความต้องการสินค้าเพิ่มขึ้นและการผลิตก็จะเพิ่มขึ้นตาม ทำให้ราคาสินค้าปรับลดลงเอง

สำหรับประเทศไทยเมื่อราคาสินค้าปรับสูงขึ้น ขณะเดียวกันเราก็ขายสินค้าได้มากขึ้นด้วย ทำให้เศรษฐกิจยังสามารถเติบโตได้ แต่ภาวะเงินฝืดหมายความว่าสินค้าขึ้น เศรษฐกิจหดตัว คนว่างงาน แต่ของไทยเศรษฐกิจกำลังค่อย ๆ ฟื้น ซึ่งรัฐบาลก็ไม่ต้องการให้เศรษฐกิจเติบโตแบบก้าวกระโดดแล้วหัวทิ่มลงมาอีก

ชักช้าไม่ได้แล้ว หลังรัฐบาลไฟเขียว ออกมติ ครม. เห็นชอบมาตรการเพื่อกระตุ้นการบริโภค โดยการเพิ่มวงเงินให้กับผู้ได้รับสิทธิในโครงการ “คนละครึ่ง” เพิ่มอีกคนละ 1,500 บาท ในเดือนพฤศจิกายนนี้ รวมวงเงินที่ได้รับในโครงการคนละครึ่งเฟส 3 ทั้งหมดเป็น 4,500 บาท ซึ่งสามารถใช้สิทธิได้ถึง 31 ธันวาคม 2564

อัพเดท จาก www.คนละครึ่ง.com ยังไม่ได้รับสิทธิคนละครึ่ง หรือยังไม่เคยสมัครนั้น สามารถสมัครได้ทันที เนื่องจากทางโครงการยังไม่ปิดรับลงทะเบียน จนกว่าจะหมดสิทธิ

เกมดันเหรียญ

โดยอัพเดทล่าสุดวันนี้ เวลาประมาณ 9 โมงเช้า (20 ต.ค. 64) โครงการคนละครึ่งเฟส 3 มีสิทธิเหลือ จำนวน 168,285 สิทธิ

คุณสมบัติผู้ลงทะเบียนเพื่อรอรับเงินเข้าแอปฯ เป๋าตัง เพิ่มเป็น 4,500 บาท

1. มีบัตรประจำตัวประชาชนและเป็นบุคคลสัญชาติไทย

2. อายุตั้งแต่ 18 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป ณ วันที่ลงทะเบียน

3. ไม่เป็นผู้ได้รับสิทธิโครงการบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ

หากลงทะเบียนสำเร็จจะได้รับเงินเข้าแอปฯ เป๋าตัง รวมเป็น 4,500 บาท ซึ่งก่อนหน้านี้โครงการ คนละครึ่งเฟส 3 ได้โอนเงินเยียวยาให้ผู้มีสิทธิมาแล้ว 2 รอบเมื่อวันที่ 1 ก.ค. จำนวน 1,500 บาท และวันที่ 1 ต.ค. 2564 ที่ผ่านมาอีก 1,500 บาท

ตู้ดันเหรียญ

จากกรณีคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ 4 มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพื่อบรรเทาผลกระทบจากสถานการณ์โควิด-19 มีรายละเอียดดังนี้

1. โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐระยะที่ 3 โดยจ่ายเงินช่วยเหลือผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ จำนวน 1,200 บาท/คน โดยแบ่งจ่ายเดือนละ 200 บาท/คน เป็นระยะเวลา 6 เดือน (ก.ค.-ธ.ค.64) มีผู้ได้ประโยชน์จากโครงการนี้ 13,350,159 คน

2. โครงการเพิ่มกำลังซื้อให้แก่ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ เช่น ผู้ไม่สามารถเข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ต ผู้ไม่มีสมาร์ทโฟน ผู้มีภาวะพึ่งพิง ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ จำนวนไม่เกิน 2,500,000 คน โดยจ่ายผ่านบัตรประชาชนแบบสมาร์ทการ์ด เดือนละ 200 บาท/คน ระยะเวลา 6 เดือน (ก.ค.-ธ.ค.64) รวมได้รับเงินช่วยเหลือ 1,200 บาท

อ้างอิง : เว็บรัฐบาล

อื่นๆ : หาเงินภายใน10นาที

 

Share